
AMBSLOT มาทำความรู้จักกับฝีดาษลิง ที่ทั่วโลกต้องระวัง
โรคฝีดาษลิง (Monkeypox) เป็นโรคที่ใครหลายๆคนทั่วโลกกำลังหวั่นวิตกไม่ต่างจากโควิด-19 (Covid – 19) ซึ่งทีท่าทีของโรคฝีดาษลิงกำลังเริ่มระบาดหนักอยู่ทั่วโลก และในไทยตอนนี้ต่างก็ต้องรับมือกันอย่างเร่งด่วน
AMBSLOT วันนี้จะพามารู้จักกับโรค “ฝีดาษลิง” หรือฝีดาษวานร ที่กำลังเกิดขึ้นอยู่ในขณะนี้ ไม่เพียงแค่โรคฝีดาษลิงเท่านั้นยังมีโรคโควิด -19 ที่ต้องคอยเฝ้าระวังการกลายพันธุ์ด้วยเช่นกัน โดยผู้คนต่างก็หวั่นวิตกกันทั่วโลก ซึ่งทางองค์การอนามัยโลก(WHO) เตือนฉุกเฉินขึ้นสูงสุดเนื่องจากมีการระบาด 16,000 รายทั่วโลก โรคฝีดาษลิงเกิดจากไวรัส Othopoxvirus ที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันกับไวรัสฝีดาษวานร (Smallpox) โดยพบในสัตว์ตระกูลลิง และสัตว์ฟันแทะ เช่น หนู, กระรอก, กระแต เป็นหลัก โดยค้นพบครั้งแรกในลิง ซึ่งไปรับเชื้อมาโดยบังเอิญจึงเป็นที่มาของชื่อโรค “โรคฝีดาษลิง”
การแพร่ระบาดของโรคฝีดาษลิงไปทั่วโลกอย่างรวดเร็ว เข้าข่ายของการกำกับดูแลสาธารณสุข จึงทำให้องค์การอนามัยโลกได้ประกาศเตือนฉุกเฉินสาธารสุขระหว่างประเทศ ในหลายสัปดาห์ที่ผ่านมาทำให้รัฐบาลชาติต่างๆ ได้ออกมาตราการเพิ่มขึ้นเพื่อยกระดับการแพร่ระบาดของโรคฝีดาษลิง ซึ่งล่าสุดพบผู้ติดเชื้อมากกว่า 16,000 รายและมีผู้เสียชีวิต 5 รายจาก 75 ประเทศ โดยที่ประเทศสหรัฐอเมริกามีรายงานว่าพบผู้ติดเชื้อในเด็กแล้ว 2 ราย
ส่วนในที่ประเทศไทยพบผู้ป่วยติดเชื้อฝีดาษลิงรายแรกเช่นกัน โดยทางคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ได้เปิดเพยว่าพบ ชาย สัญชาติไนจีเรีย อายุ 27 ปี มีประวัติเดินทางมาจากประเทศไนจีเรีย มีอาการไข้, ไอ, เจ็บคอ, มีน้ำมูก, มีผื่นแดง, มีตุ่มนูนแดง และมีตุ่มหนอง เริ่มจากอวัยวะเพศจากไปที่ใบหน้า ลำตัว และแขน ในขณะนี้พบว่าผู้ป่วยรายนี้ได้หนีออกจากประเทศไทย ไปยังประเทศเพื่อนบ้านทางด้านประเทศกัมพูชาได้นำตัวส่งสถาบันสาธารณสุขกัมพูชาเพื่อกักโรคเป็นที่เรียบร้อย
ความเป็นมาของโรคฝีดาษลิง
โรคฝีดาษลิงเคยเกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อ 60 ปีก่อนมีถิ่นกำเนิดที่ประเทศคองโกโดยพบการติดเชื้อของสัตว์ตระกูลห้องแล็ป นอกจากนั้นยังสามารถแพร่สู่สัตว์ในตระกูลฟันแทะ เช่น หนู, กระรอก, กระต่าย เป็นต้นซึ่งเป็นตระกูลเดียวกับโรคฝีดาษในคน หลังจากนั้นโรคฝีดาษลิงเคยเกิดขึ้นแล้ว ได้มีการเกิดขึ้นอีกครั้งซึ่งมีการแพร่ระบาดอยู่ที่ทวีปแอพฟริกาจนกลายเป็นโรคประจำถิ่น แต่ตั้งปี 2003 จากสถานการณ์การแพร่ระบาดในรัฐแคริฟอเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีคือ แพรี่ด็อก (Prairie Dog) สัตว์นำเข้าจากประเทศคองโกเป็นพาหะนำโรคในการแพร่เชื้อเป็นวงกว้าง และโรคก็ได้สงบไปจากการแพร่ระบาดในครั้งนั้น และไม่พบผู้ป่วยที่เป็นโรคฝีดาษลิงในทวีปอีกเลย
สายพันธุ์โรคฝีดาษลิงมีกี่ชนิดอะไรบ้าง
โรคฝีดาษลิงมีทั้งหมด 2 สายพันธุ์ ได้แก่ สายพันธุ์แอฟริกากลาง (Congo Basin) และ สายพันธุ์แอฟริกาตะวันตก (West African)
- สายพันธุ์แอฟริกากลาง (Congo Basin) เป็นสายพันธ์ที่มีความรุนแรงมาก อาจถึงขั้นเสียชิวิต โดยพบอัตราการเสียชีวิตอยู่ที่ 10 %
- สายพันธุ์แอฟริกาตะวันตก (West African) เป็นสายพันธุ์ที่มีความรุนแรงน้อยกว่าสายพันธุ์แอฟริกากลางมาก ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่แพร่ระบาดอยู่ในขณะนี้ โดยอัตราการเสียชีวิตอยู่ที่ 1 %
การติดต่อโรคฝีดาษลิง
โรคฝีดาษลิง สามารถแพร่กระจายได้ง่าย โดยแบ่งออกเป็น 2 ชนิดดังนี้
1.การติดต่อจากสัตว์สู่คน
- การสัมผัสโดยตรงกับสารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ
- ถูกสัตว์ที่ติดเชื้อกัดหรือข่วน
- กินเนื้อสัตว์ที่มีเชื้อหรือปรุงอาหารไม่สุก
2. การติดต่อจากคนสู่คน
- สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยจากสารคัดหลั่ง จากผิวหนังที่มีตุ่มหนอง หรือละอองฝอยจากการหายใจ
- มีอาการป่วย 2-4 สัปดาห์
- ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะหายจากโรคเองได้ โดยอาการรุนแรงมักพบในเด็กขึ้นอยู่กับปริมาณที่ได้รับ
- และนอกจากนี้โรคฝีดาษลิงยังสามารถติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้แต่ยังไม่มีหลักฐานสนับสนุนเพียงพอ
หากใครที่มีอาการเหล่านี้ควรเช็คด่วน
อาการของโรคฝีดาษลิงมีระยะเวลาการฝักตัวเป็นเวลา 7-14 วัน โดยผู้ที่ติดเชื้อจะมีอาการดังนี้
- มีไข้ มีไข้สูง
- ปวดตัว ปวดกล้ามเนื้อ ปวดหลัง
- ปวดกระบอกตา
- ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วร่างกาย
ระยะฝักตัวของโรคฝีดาษลิง
ระยะการฝักตัวของโรคฝีดาษลิง ระยะเวลา 7-14 วัน โดยอาการจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนดังนี้
- ระยะก่อนออกผื่น ประมาณ 0-5 วัน อาการ มีไข้, ปวดศรีษะมาก, ต่อมน้ำเหลืองโต, ปวดหลัง, ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อและอ่อนเพลียมาก ภาวะต่อมน้ำเหลืองโตเป็นลักษณะเด่นของโรคฝีดาษลิง เมื่อเปรียบเทียบกับโรคอื่นที่อาจแสดงอาการแรกเริ่มคล้ายกัน เช่น อีสุกอีใส, หัด และฝีดาษ
- ระยะเริ่มออกผื่น อาการเริ่มออกผื่นประมาณ 1-3 วันหลังจากที่มีไข้ ตุ่มผื่นมักขึ้นหนาแน่นบนใบหน้าและแขนขามากกว่าลำตัว โดยผื่นจะมีขนาด 2-10 มิลลิเมตร ในช่วง 2-4 สัปดาห์ สามารถเกิดตุ่มผื่นได้ทั้งในหน้า, ฝ่ามือฝ่าเท้า, เยื่อบุช่องปาก, อวัยวะเพศ, เยื่อบุตา และกระจกตาอาจจะได้รับผลกระทบด้วย
การป้องกันโรคฝีดาษลิง หรือโรคฝีดาษวานร
- หลีกเลี่ยงสัมผัสเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์
- ทานเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุก
- สวมหน้ากากอนามัยทุกครั้งเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อผ่านฝอยละอองขนาดใหญ่
- ล้างมือด้วยสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์บ่อยๆ
- ไม่นำสัตว์ป่ามาเลี้ยงหรือหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสัตว์ที่มีอาการป่วย โดยเฉพาะลิงหรือสัตว์ฟันแทะ
- เฝ้าระวังอาการ 21 วันหลังจากกลับจากประเทศติดโรค
AMBSLOT หลังจากที่ได้แนะนำโรคฝีดาษลิงเป็นยังข้างต้นแล้ว หากใครที่มีอาการเหล่านี้สามารถเช็คตัวเองเบื้องต้นก่อนหรือหากกังวลใจสามารถเข้ารับการตรวจโรคฝีดาษลิงที่โรงพยาบาลได้ และถ้าหากสบายใจแล้วสามารถเข้ามาผ่อนคลายกับเกมสล็อตออนไลน์กับทาง jackergame.com ได้ตลอด 24 ชั่วโมง

บทความสล็อตอื่นๆ

AMBSLOT รีวิวเกมสล็อต Pet Ranger เกมขบวนการสัตว์เลี้ยง
ข้อมูลเพิ่มเติม
Ambslot เล่นสล็อต Mermaid’s Market เกมใหม่ 2022
ข้อมูลเพิ่มเติม
ambslot ทดลองเล่นสล็อต Hungry Krahung
ข้อมูลเพิ่มเติม